Page 14 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 14

1.3 |  เนื้อหาของหลักสูตรการอบรมและการ

                          นําเสนอ




               การสรางบานแหงการเกื้อหนุน

                                                                             ื
                                                                           
                                                                                             ํ
               หลักสูตรการอบรม PLH สําหรับเด็กเล็ก จะใชภาพบานเปนสัญลักษณเพ่อแสดงใหเห็นวาทาไมจึงเปนเรือง
                                                                                                       ่
                                                                 ็
                                                                      ั
               สําคัญที่พอแมจะตองสรางความสัมพันธในเชิงบวกที่มั่นคงแขงแรงกบลูก
                                                                         ้
                                                                                                  ึ
                                                                                          ึ
                            ื
                                                                             ู
               บานแหงการเก้อหนุน เปนตัวแทนของรูปแบบการอบรมดานการเลียงดเด็กสองระยะ ซ่งพัฒนาขนมาโดย
                                                                                                  ้
                                                                            ่
                                                        ี
                                                          
                                                                                       ู
                                                                                         ็
               คอนสแตนส ฮานฟ (Constance Hanf) และไดมผูนําไปใชในการอบรมเรืองการเลียงดเดกหลายหลักสูตรทว
                                                                                                         ่
                                                                                                         ั
                                                                                    ้
               โลก01 แนวคิดนี้มีรากฐานมาจากทฤษฎีทางพฤติกรรม ซึ่งกลาววาพอแมควรสรางความสัมพันธที่ดีกับเด็กกอนที่
               จะสอนใหเด็กรูจักการกําหนดขอบเขตหรือใชวิธีการตาง ๆ ในการอบรมสั่งสอน
                                                        ี
                                                     ั
                                      
                                                        ่
                                                                                       
                                                                                                  ี
                                                                                ็
                                                                             ั
               ฝาผนังบาน เปนสัญลักษณของการมีปฏิสัมพนธทดและเปนไปในเชิงบวกกบเดก ไดแกการใชเวลาทมีคุณภาพ
                                                          ี
                                                                                                  ่
                                        ื
                                                                      ี
               ดวยกันกับเด็กตามลําพัง เพ่อพัฒนาทักษะทางภาษา พูดคุยเก่ยวกับอารมณความรูสึก และชมเชยและ
                                  ี
               สนับสนุนพฤติกรรมทดี การออกคาสั่งหรือใหคําแนะนําในเชิงบวก และการกําหนดกฎระเบียบและกจวัตร
                                            ํ
                                  ่
                                                                                                     ิ
               ประจําวันในบาน และปฏิบัติตามนั้นอยางเสมอตนเสมอปลาย
                                                                                   ี
               ฝาผนังบานนี้ถือวาเปนรากฐานของการเลี้ยงดูเด็กที่ด เปนสวนที่สําคัญ
               ที่สุดของหลักสูตรการอบรมนี้
                                                           ี
                                                           ่
               เม่อเราหันไปดูทหลังคา เราจะมงความสนใจไปทการจัดการกับพฤตกรรมท่เปนปญหาเชน การรองดิ้น
                                                                                  ี
                                                                           ิ
                 ื
                              ี
                                            ุ
                              ่
               อาละวาด การดื้อหรือไมใหความรวมมือ และการทําผิดกฎระเบียบ
                                   
                                                                                               ื
               เม่อพอแมใชเวลาในการสรางความสัมพันธเชิงบวกกับลูกมากข้น ก็จะจําเปนตองใชเวลาเพ่อจัดการกบ
                                                                       ึ
                                                                                                        ั
                 ื
               พฤติกรรมที่เปนปญหานอยลง
                                  ั
                                                                 ื
               ยิ่งพอแมใชเวลาเลนกบลูกและชมเชยลูกมากขน ลูกก็จะด้อหรือซนหรือพยายามเรียกรองความสนใจดวย
                                                       ึ
                                                       ้
                                                                                                       
               พฤติกรรมเชิงลบนอยลง
                                     ั
                                                                                             
                                                         
                 ั
                                           
               ทกษะเหลานี้จะสงผลใหท้งพอแมและลูกรูสึกวาไดรับการสนับสนุนและไดรับความรัก และพอแมก็จะเครียด
               นอยลง






               1   Kaehler, L. A., Jacobs, M., & Jones, D. J. (2016). Distilling common history and practice elements to inform dissemination:
                   Hanf-model BPT programs as an example. Clinical Child and Family Psychology Review, 19(3), 236-258.

   หลักสูตรการอบรม
                                            ื่
                                                                             ็
   คูมือวิทยากร             การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย    |   บทนํา     9
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19