Page 145 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 145
3.2 | การตอนรับเขาสูการอบรม
ตอนรับพอแมแตละคนอยางอบอุนและกระตือรือรน เมื่อเขาเดินทางมาถึงที่อบรม
ู
หยุดพักสักคร
ฝก หยุดพักสักครูกับพอแม คุณอาจใชเวลาเพียงสั้น ๆ (ประมาณหนึ่งนาที)
หลับตาลงเบา ๆ
ี
มุงความสนใจไปที่ความคิด ความรูสึก และความรูสึกทางประสาทสัมผัสในรางกาย (15 วินาท)
มงความสนใจไปทีลมหายใจ (30 วินาท)
ุ
่
ี
ี
ขยายความรูสึกตัวออกไปทั่วรางกายและสังเกตเสียงตาง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัว (15 วินาท)
ลืมตา
การทําเชนนี้จะชวยใหพอแมรูสึกสบายที่จะฝกทํากิจกรรมนี้ และสามารถทําไดดวยตัวเอง
ตรวจสอบอารมณตอนเริ่มตน
ในตอนตนชั่วโมงที่สาม เชิญชวนพอแมและผูปกครองใหผลัดกันพูดรอบวง วาเชานี้เขารูสึกอยางไรบาง
พอแมควรเลาถึงอารมณของตนเอง เขารูสึกถึงอารมณนีตรงบริเวณไหนของรางกาย และมีความคิดอะไรท ี ่
้
เชื่อมโยงกับอารมณนี้
้
ตัวอยางเชน “ฉันรูสึกกังวล ฉันรูสึกถึงมันไดทไหลท้งสองขาง ฉันกังวลวาเดือนนี้จะมีเงนพอซออาหารหรือ
ื
ิ
่
ี
ั
ื
ู
่
ี
่
ู
เปลา” หรือ ““ฉันร้สึกตนเต้น ฉันร้สึกได้บริเวณทรวงอกน ฉันกําลังจะได้เฟอร์นิเจอร์ใหม่!”
การออกกําลังกาย
เตือนใหพอแมคอยสังเกตวารูสึกอยางไรกอนและหลังการออกกําลังกายนี้
หลังการออกกําลังกายวิทยากรควรถามพอแมวาสังเกตการเปลี่ยนแปลงไดไหม
ถามพอแมวาไดนําเอาวิธีออกกําลังกายนี้ไปลองทําที่บานตอนเชาหรือเปลา
ชมและใหกําลังใจคนที่พยายาม!
ความกาวหนาของบานแหงการเกื้อหนุน
ื้
แสดงใหพอแมเห็นความกาวหนาของเขาที่ภาพบานแหงความเกอหนุน
หลักสูตรการอบรม
การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย | ชั่วโมงที่ 3 139
ื่
็
คูมือวิทยากร