Page 146 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 146

3.3 | พดคุยกันเรื่องกิจกรรมที่บาน
                            ู



                                                           ี
                                                                                           ี
                                                                                           ่
                             
                                                ่
                                                ี
               เตือนความจําพอแมวากิจกรรมหลักทใหเอาไปทําท่บานจากชั่วโมงกอนคือ การพูดคุยเกยวกับความรูสึก
                                                                                                       
               ในขณะที่ใชเวลาตามลําพังดวยกัน
               ขณะท่เริ่มพูดคุยกันเรื่องนี้ ขอใหชวนพอแมใหทารายการกอนอฐบลอกท่สําคัญท่มาจากการทํากิจกรรม
                                                                           ็
                     ี
                                                                                      ี
                                                                   
                                                                       ิ
                                                                               ี
                                                         ํ
               วิธีการพูดคุยเกี่ยวกับความรูสึก จากชั่วโมงกอน
                                                                                                     ั
                                                                                             ็
                                                                                      
               กิจกรรมนี้ควรเปนการพูดคุยกันระหวางพอแมโดยวิทยากรมีหนาที่ชวยเตือนใหคิดถึงกอนอิฐบลอกที่สําคญ
                                               
                                           
               หลังจากนี้วิทยากรควรเชิญชวนพอแมใหแบงปนประสบการณโดยการเลาสูกนฟงในกลุม ควรใหไดพดทกคน
                                                                                  
                                                                                                      ุ
                                                                               ั
                                                                                                   ู
                                                                                                  
               เพ่อท่จะชวยใหกําลังใจหากพบกับปญหาหรืออปสรรค และเปนการตรวจสอบใหม่นใจวาเขาทากิจกรรมได  
                                                       ุ
                                                                                     ั
                    ี
                                                                                               ํ
                  ื
               อยางถูกตองดวย
               ถาคิดวาจะใชเวลามากเกินไป ใหแบงออกเปนสองกลุมแลววิทยากรแตละคนนํากิจกรรมแตละกลุมไปพรอมกัน
                                  ี
                                                                                   ี
                                                                                   ่
                                                                                                      ํ
                                                                                                         ั
                                                        ี
               สอบถามดูวามีพอแมท่สามารถออกความเห็นเก่ยวกับความรูสึกของลูกในขณะทใชเวลารวมกันตามลาพง
                             
               หรือไม ขอฟงตัวอยางวาเขาพูดอะไร และมีเหตุผลอยางไร กอนอิฐบล็อกท่สําคัญสําหรับตรงนี้คอ การ
                                                                                                    ื
                                                                                 ี
                                                                                      ั
               เชื่อมโยงอารมณเขากับพฤติกรรมเฉพาะบางอยาง (เชน “วันนี้ลูกดูมีความสุขที่ไดเลนกบของเลนนะ”)
               ควรสอบถามดวยวาพอแมหรือผูดูแลเด็กสามารถสังเกตและแลกเปลี่ยนความรูสึกของตนเองกับเด็ก ๆ ไดไหม
                                                         ี่
                                                     ็
                                                                          
                                                                                      ั
                                                                                        ั
               วิทยากรควรชมพอแมเมื่อเขาพูดถึงกอนอฐบลอกทสําคัญสําหรับการใชเวลาตามลาพงกบลูก
                                                 ิ
                                                                                   ํ
                                                         ิ
               สอบถามพอแมวาพบความลําบากอะไรในการทากจกรรมทบานหรือเปลา เวลานี้เปนโอกาสที่จะแกปญหาและ
                                                                ี่
                                                      ํ
                                                                                                 
               ฝกทักษะเปนกลุม พยายามกระตุนใหพอแมนําเสนอทางแกปญหาของตนเอง
                                                                                                
                                                                                                         ํ
                                                                                          ่
                                                                                          ี
                                                    ี
                                                    ่
                                                        ํ
               ในตอนทาย ควรชมพอแมอยางมากท่สุดทจะทาได สําหรับพฤติกรรมเฉพาะบางอยางทเขาไดพยายามทา
                                  
                                                ี
               ในขณะทากิจกรรมที่บาน
                       ํ

               คําถามที่อาจใชไดในการพูดคุยเรื่องกิจกรรมที่บานในชั่วโมงที่สาม:
                                                                                             ั
                                                                      ี่
                                                                               ู
                   1.  มีใครไดฝกออกความเห็นเกี่ยวกับอารมณของลูกในขณะทใชเวลาอยดวยกันตามลําพงหรือไม? มใคร
                                                        
                                                                                                    
                                                                                                       ี
                                                                                              ํ
                         
                                                                                                    ุ
                                                           ั
                       ไดลองพดถึงอารมณความรูสึกของตนเองกบลูกบางไหม? เด็กมีปฏิกิริยาอยางไร? ทาแลวคณรูสึก
                              ู
                       อยางไรบาง?
                                                                                                      ึ
                            ี
                   2.  มีใครท่สามารถสังเกตอารมณหรือความรูสึกของตนเองในระหวางสัปดาหไดไหม? มีอะไรเกิดข้นใน
                            ้
                                                                           
                       ขณะนัน?  คุณสามารถเลาเรื่องความรูสึกของคุณกับลูกไดหรือไม?
                                                          ู
                                                                    
                   3.  มีปญหาหรือความทาทายอะไรที่ทําใหการพดถึงอารมณความรูสึกเปนเรื่องยากบาง?
                   4.  มีวิธีไหนที่จะแกไขหรือจัดการกับปญหาที่พบบางไหม?




   หลักสูตรการอบรม
                           การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย    |   ชั่วโมงที่ 3    140
                                                                          ็
                                         ื่
   คูมือวิทยากร
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151