Page 136 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 136

8.  พูดคุยกันเกี่ยวกับการฝกที่ไดทําไป


                    หลังจากพอแมไดฝกแลว คุณควรชวยคิดทบทวนประสบการณที่ไดรับ ดังตอไปนี้



                   ถามพอแมวารูสึกอยางไรเวลาที่ใชคําพูดบรรยายวาเขาหรือเด็กรูสึกอยางไร


                   ขอใหเด็กบอกหนึ่งอยางที่ชอบ (ถาพอแมไดฝกกับเด็กโดยตรง)


                   ถามพอแมวามีขอสงสัยอะไรอยูอกไหมเกี่ยวกับเรื่อง การพูดถึงความรูสึก นี้
                                               ี

               9. คูฝก PLH


                  อธิบายวา คูฝก PLH คืออะไร แลวบอกผูปกครองวา คือใครจากกลุมผูเขารับการอบรม พยายามตรวจสอบ
                                                                                       
                                                                                                     ่
                               ํ
                  ใหมั่นใจวาคูทกาหนดใหเปนที่ยอมรับหรือพอใจหรือไม หากไม อาจตองเลือกคนใหมใหในการอบรมชัวโมง
                              ี่
                  ถัดไป
              10. มอบหมายกิจกรรมใหทําที่บานสําหรับสัปดาหนี้


                  กิจกรรมที่จะใหทําที่บานก็จะเปนแบบเดียวกันกับในกลุม คือ


                   ใชเวลาอยางนอย 5 นาทีเพื่ออยูตามลําพังกับลูก โดยใชเทคนิค เลนโดยใหเด็กนํา



                                                                                                ู
                                                               
                                                                                                   ี
                                                                       ู
                                                                                                   ่
                                  ี
                                                                                                        ึ
                   ฝกการพูดคุยเก่ยวกับความรูสึกกับเด็กในขณะใชเวลาอยตามลําพังดวยกัน ควรใชคําพดทบอกถง
                     ความรูสึกของพอแมเอง และของเด็กดวย
                   ฝก การพูดคุยเกี่ยวกับความรูสึกกับเด็กอยางนอยวันละสามครั้ง
                   ฝกใหรูเทาทันความรูสึกของตนเองขณะทํากิจวัตรประจําวัน


                                                                                                        ั
                                                                                           
                                                                                             ื
                                                 ี
                                      ื
                   ฝกหยุดพักสักครู เม่อไหรก็ตามท่รูสึกเครียดหรือไมสบายใจ คุณอาจหยุดพักสักครูเพ่อมีความสุขกบ
                                   
                     อารมณดานบวกก็ได
                   บริหารรางกาย ทุกเชา

                 พยายามสอบถามใหมั่นใจ วาพอแมจะใชเวลาอยูตามลําพังกับเด็กเมอไหร ที่ไหน
                                                                          ื่

                                                                                                  
                 11. การชมครังสุดทายและการกลาวลา ขอบคณและชมพอแมท่ใหเวลาเรา ควรชมลูกหรือเดกดวย เตือน
                                                                                               ็
                                                         ุ
                             ้
                                  
                                               
                                                                        ี
                                                                  
                      ความจําพอแมวาการอบรมครั้งตอไปจะเปนเมื่อไหร และกระตุนใหไปเขารวมใหได!





    หลักสูตรการอบรม
                                           ื่
                                                                            ็
    คูมือวิทยากร           การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย    |   ชั่วโมงที่ 2    130
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141