Page 39 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 39

การเช็คอินและเช็คเอาทเพื่อตรวจสอบอารมณกอนและหลังชั่วโมงการ
               อบรม


               วิทยากรและพอแมผูเขารวมอบรมจะเริ่มและจบแตละชั่วโมงดวยการตรวจสอบอารมณของตนเอง

                                   
                    ํ
                          ้
                                     
                                                 
                                                             
                                                                                                       
               การทาเชนนีจะชวยใหผูเขารวมอบรมไดแบงปนความรูสึกในตอนเริ่มชั่วโมง และในตอนทายชั่วโมงของแตละ
                                                                                             
               ครั้งก็จะมีโอกาสตรวจสอบอารมณของตนเองอีกครั้ง เหมือนกับเปนการเปลี่ยนผานเขาสูชีวิตประจําวัน
               ตามปกติในเวลาที่เหลือของวันนั้น
                                                                                              ู
                 ุ
                                                                                                   ี
                                                                                                   ่
                       ํ
                                   ู
                                                       
                                                                     ํ
                          ั
                                                                        
               คณควรทาตวอยางใหดวาการตรวจสอบอารมณของตนเองนี้จะทาไดอยางไร โดยการสาธิตใหดกอนทจะขอให
               ทกคนทาไปรอบ ๆ วง คอ
                      ํ
                 ุ
                                   ื
                   1.  บรรยายความรูสึกของคุณที่กําลังเกิดขึ้นในขณะนั้น
                   2.  บรรยายวาความรูสึกเชนนี้สัมผัสไดตรงสวนไหนของรางกาย
                   3.  บรรยายถึงคณภาพของอารมณหรือความรูสึกทางประสาทสัมผัสในรางกายตวของคณ (เปนการบอก
                                                                                            ุ
                                                                                      ั
                                 ุ
                                                          
                       ใหรูวาเรารูตัวหรือไมวาสัมผัสกับอารมณนั้นไดตรงสวนไหนของรางกาย)
                   4.  บรรยายถึงความคิดที่เชื่อมโยงกับอารมณที่กําลังเกิดขึ้นนั้น
                                                                                                     
                                                  ึ
                                                    ั
                                                        
               ตวอยางเชน “ฉันรูสึกวิตกกงวล ฉันรูสึกถงมนไดทบริเวณไหลทงสองขาง ฉนกาลังกงวลวาเดอนนีจะไมมเงน
                                                                          
                                                                                     ั
                                       ั
                                                                                            ื
                                                                                 ํ
                                                                                                ้
                 ั
                                                                                                      ี
                                                                              ั
                                                                    ้
                                                                                                        ิ
                               
                                                         ่
                                                         ี
                                                                    ั
                                                                                                    
               พอที่จะซื้ออาหารกิน” หรือ “ฉันรูสึกตื่นเตน ฉันรูสึกไดบริเวณทรวงอกนี่ ฉันกําลังจะไดเฟอรนิเจอรใหม!”
                                                                               
                                            
                                                                                  
                                  
                     ่
                                                                                               ี
                                 
                                                                                           ่
                                                                                                    ิ
               การเชือมโยงอารมณเขากบความรูสึกทางประสาทสัมผัสของรางกาย ทําใหพอแมสามารถเลียงท่จะไมตดหรือ
                                     ั
               หมกมุนอยูกับเรื่องราววาทําไมเขาจึงตองรูสึกอะไรอยางนั้น

               การเชื่อมโยงความคิด อารมณ และความรูสึกทางรางกายเชนนี้จะชวย
               ใหผูปกครองอยูกับปจจุบันขณะได
                                                                                                    ั
                                                                                          
                                                                                                       
                                                                                               ่
                                      ิ
                                         ึ
                                         ้
               การทาความตระหนักรูใหเกดขนกับประสบการณในขณะปจจุบันจะชวยใหเราสามารถรับรูและชืนชมกบดาน
                    ํ
                                  
               บวกของชีวิตไดลึกซึ้งขึ้น และเกิดความรูสึกออนโยนและมั่นคงเมอตองเผชิญกับความทาทายในชีวิต
                                                                    ื่
                                      ี่
                                           
               การทําเชนนี้ยังเปนทักษะทพอแมหรือผูดูแลเด็กจะตองฝกเพื่อใหสามารถสังเกตอารมณและพฤติกรรมของเด็ก
               ไดอยางถูกตองอีกดวย








   หลักสูตรการอบรม
                                            ื่
                                                                             ็
   คูมือวิทยากร             การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย    |   บทนํา     33
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44