Page 116 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 116

2.1 | ขอความที่ควรอานกอนเพื่อเตรียมนําเสนอ

                         ชั่วโมงที่สอง





                   เนื้อหาในตอนนี้จะเปนประโยชนสําหรับการเตรียมการอบรมในชั่วโมงทสอง เปนขอมูลสําหรับ
                                                                               ี่
                                                                  ํ
                   วิทยากรโดยเฉพาะเทานั้น เพื่อที่จะชวยใหจําหลักการสาคัญในขณะที่อบรมผูปกครองได เนื้อหา
                   สําหรับการอบรมผูปกครองจะเริ่มในตอนที่ 2.2




                                                                ื
                                                                ้
                                                                                        ุ
                        ี
                                                          
                                                     
                                                                                                      ี
               ในชั่วโมงท่สองนี้พอแมจะสรางรากฐานของบานแหงการเกอหนุนของเขาเอง โดยการมงความสนใจอยูทการ
                                                                                                      ่
               พูดคุยเกี่ยวกับความรูสึก
                                             ื
               เราจะมีอารมณพื้นฐานอยู 6 แบบ คอ: สุข เศรา โกรธ ขยะแขยง ประหลาดใจ และกลัว แมกระทั่งเด็กทารกก ็
                            
               จะรูสึกและแสดงอารมณเหลานี้ออกมาได
                              ึ
               เม่อเด็กอายุมากข้น เขาก็จะเรียนรูท่จะแยกแยะอารมณอ่น ๆ ไดอีกมากมาย เชน ต่นเตน หงุดหงิด ภูมิใจ
                                                               
                 ื
                                             
                                              ี
                                                                ื
                                                                                       ื
               เหงา สงบสุข ผิด หรือ สับสน
                            ้
                                                                        
                                                                                 ุ
                                                
                                                                               
                                         
                             ุ
               ในชั่วโมงท 2 นีคณจะแนะนําพอแมใหรูจักการสรางความตระหนักตออารมณ คณจะชวยใหพอแมสํารวจและ
                                                                                                
                        ี่
                                                                                            
               เรียนรูวาอารมณมีความสัมพันธกับความคิดและพฤติกรรมอยางไร
                                                 ี
                                                                            ึ
               เรามกพบเปนปกตวาพอแมบางคนจะมความลําบากในการแสดงออกซ่งอารมณและความรูสึก หลายคน
                                                                                    
                                   
                               ิ
                    ั
                                       
                                                      ั
                                                        ู
               โดยเฉพาะอยางยิงในกลุมเดกชายและผูชาย มกถกสอนวาเวลาเสียใจไมควรรองไห หรือไมควรหัวเราะเวลาม ี
                                                
                                                                                          
                              ่
                                       ็
               ความสุข
                                                                            ิ
                                                                        ั
               เปนเรื่องสําคัญมากท่พอแมควรจะเขาใจวาท้งเดกและผูใหญและท้งหญงและชายมีความรูสึกเหมอน ๆ กัน
                                                        ็
                                 ี
                                                                                                 ื
                                                     ั
                        
                                                                                     ึ้
                                                                                   ิ
               และพอแมควรเรียนรูที่จะสังเกตอารมณของตนเอง สัมผัสกับความรูสึกของมันที่เกดขนในรางกาย และสื่อสาร
               มนออกมา
                 ั
                                                                                                      
               ในประเทศไทย พอแมบางคนอาจรูสึกวาเด็กขาดความเคารพ ไมเชื่อฟง หรือรูสึกโกรธเมื่อลูกแสดงอารมณดาน
                                                                            ื
               ลบออกมา เปนเรื่องสําคัญที่จะตองเนนวาอารมณดานลบก็เปนสิ่งปกติเหมอนกับอารมณดานบวก
                                                                                     ุ
                                                                                              ํ
               การปลอยใหเด็กไดแสดงอารมณดานลบไมไดหมายความวาพอแมจะ “เสียการควบคมหรือเสียอานาจ” เหนือ
                                                  
                                          
                                                                 
               เด็ก และไมไดหมายความวาเด็กที่เปนอยางนั้นไมเคารพหรือตอตานผูใหญ
                                                                                                 ํ
               จะเปนประโยชนกวาหากเราปลอยใหเดกไดสัมผัสกับอารมณของตนเองและพูดถึงมน เพราะการทาเชนนีจะ
                                                                                                       ้
                                                                  
                                                    
                                                                                     ั
                                                ็
               ชวยใหเด็กเรียนรูที่จะจัดการกับอารมณไดดีขึ้น


    หลักสูตรการอบรม
                                                                            ็
                                           ื่
    คูมือวิทยากร           การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย    |   ชั่วโมงที่ 2    110
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121