Page 117 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 117
ี
่
ั
ั
่
ื
้
ิ
้
บอยครังเมอบางคนรูสึกอะไรบางอยาง เขามกจะนึกถึงบางเรื่องเกยวกบความรูสึกเหลานี ความคดเหลานีจะ
้
วนเวียนกลับไปมาซ้ํา ๆ ในใจและทําใหความรูสึกนั้นรุนแรงยิ่งขึ้น
ี
่
ปรากฎการณเชนนี้อาจนําไปสูพฤติกรรมหรือความคิดททําใหเกิดการ “เสียศูนย” หรือเสียการควบคุม
้
ั
ั
ั
ั
่
ื
้
บางครังความรูสึกเหลานีอาจทวมทนจนกระทงบางคนรูสึกเหมอนกบวาโลกท้งใบกําลังพงทลายลงมาหรือใน
ชีวิตนี้ไมมีอะไรดีเหลืออยูเลย
ื
ิ
เม่อพอแมสามารถเชือมโยงความรูสึกกับความคดและพฤตกรรม และบางครั้งกับความรูสึกในบางสวนของ
ิ
่
รางกายได เขาจะสามารถอยูกับปจจุบันขณะได และปลอยใหความรูสึกเหลานี้เลื่อนไหลไปจนหมดพลังของมน
ั
ไปเอง ซึ่งจะชวยปองกันไมใหเขารูสึกวาติดบวงอยูกับความรูสึกของตนเองและควบคุมไมได
การมีความรูเทาทันอารมณยังมีความสําคัญสําหรับเด็กอีกดวย เม่อพอแมบอกชื่อความรูสึกหรือแสดงความ
ื
คิดเห็นเกี่ยวกับมัน จะชวยใหเด็กพัฒนาความสามารถในการควบคุมอารมณได
ั
็
ี
ั
ั
้
ั
ี
่
การพูดคุยกบเด็กเก่ยวกับความรูสึกเปนขนตอนสําคญทจะชวยใหเดกจัดการกบความโกรธ ความผิดหวัง และ
ความหงุดหงิด ซึ่งเปนอารมณที่เชื่อมโยงกับความคิดและพฤติกรรมที่เปนปญหาดวย
การพูดคุยเกี่ยวกับความรูสึกยังชวยใหเด็กไดสัมผัสถึงอารมณดานบวกเชน ความรูสึกเบาสบาย มีความสุข หรือ
ความเงียบสงบ และยังชวยใหเด็กไดชื่นชมกับชวงขณะเวลาที่สวยงามหรือความรูสึกของความรักอีกดวย!
หลักสูตรการอบรม
ื่
็
คูมือวิทยากร การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย | ชั่วโมงที่ 2 111