Page 122 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 122

2.4 | บทเรียนหลัก – การพดคุยเกี่ยวกับความรูสึก
                                                               ู




               คําแนะนําสาหรับเรื่องที่ตองเนนในชั่วโมงที่สอง
                            ํ

               ใหแนะนําเปาหมายสําคัญของบทเรียนหลัก โดยพูดดังตอไปนี้:


                             “เปาหมายสําคัญของชั่วโมงนี้คือการรูเทาทันอารมณของเราใหมากขึ้น และ
                                                                                  
                                                                         
                              วิธีสื่อสารใหลกเขาใจอารมณ ตอนแรกนี้เรามาคุยกันเรื่องประเภทตาง ๆ
                                          ู
                                                     
                                          ของอารมณและผลกระทบทมีตอเรากอน ...”
                                                                  ี่
                                                ี
                                                    ั้
                                                                  
                                                                   ิ
                                ุ
                                                                
                                                                                    
                                                                               ั
                                                                                  ี
               โปรดจําไวเสมอวาคณจะตองแนะนําเพยงสน ๆ แลวนําเขาสูกจกรรมถดไปทนท พอแมจะเรียนรูจากการฝก
                                     
                                                                          ั
               ปฏิบัติไดดีกวาการฟงการบรรยาย!

               กิจกรรมการสังเกตและแยกแยะอารมณ                     
                 ิ
                                                                                                       ู
               กจกรรมน้จะช่วยให้ผู้ปกครองแยกแยะอารมณ์หลัก ๆ และสังเกตว่ามันเชอมโยงกับความคิดและความร้สึก
                        ี
                                                                             ่
                                                                             ื
               ทางร่างกายอย่างไร
               คุณอาจใชขอความตอไปนี้เปนแนวทางสําหรับทํากิจกรรมนี้:
                                
                             
                     ขอใหพอแมรวมกันบอกชื่อของอารมณแบบตางๆ
                                                                                                
                                                    ื
                       เราจะมอารมณพื้นฐานอยู 6 แบบ คอ: สุข เศรา โกรธ ขยะแขยง ประหลาดใจ และพอแมอาจจะ
                             ี
                                   
                                                                                            
                       แยกแยะอารมณอื่น ๆ ไดอีก เชน กังวล สงบสุข หงุดหงิด เครียด เหงา สับสน ผิด และ ตื่นเตน
                                    
                                                   
                                                        ํ
                     พูดถึงอารมณทีละอยางแลวขอใหพอแมทาสิ่งตอไปนี้
                         ขอใหเลาวาเคยรูสึกแบบนี้ครั้งลาสุดเมื่อไหร
                                         ี
                                               
                         ขอใหเลาวาเวลามอารมณแบบนั้นมีความคิดอะไร
                          ตัวอยางเชน คิดวา “ฉันทาสิ่งนี้ไมเกงเลย” ในขณะที่รูสึกเศรา
                                               ํ
                                                        
                                                                 
                         ถามผูปกครองวาเคยจําไดไหม วาเวลามีอารมณแบบนี้รูสึกอยางไรตรงไหนของรางกายหรือ
                          ใบหนา
                          พอแมบางคนอาจจําความรูสึกทางรางกายไมคอยไดวามันเชื่อมโยงกับอารมณอยางไร วิทยากร
                                                                
                                                                                         
                                                                          ั
                          อาจชวยไดโดยขอใหชี้ไปที่บริเวณของรางกายที่อาจสัมผัสกบอารมณนั้นได เชน อาจรูสึกเจ็บ
                          แปลบขึ้นที่บริเวณไหลเมื่อโมโห หรือปวดตื้อ ๆ ที่ศีรษะเมื่อรูสึกเครียด หรือรูสึกเบา ๆ ในทรวง
                               ื่
                          อกเมอมความสุข
                                 ี
                         ถามพอแมวาอารมณที่เกิดขึ้นจะสงผลตอพฤติกรรมของเขาอยางไร
                                                          ื
                         ถามพอแมวาเกิดอะไรขึ้นเมื่อเด็กรูสึกถงอารมณบางอยาง






    หลักสูตรการอบรม
                                           ื่
                                                                            ็
    คูมือวิทยากร           การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย    |   ชั่วโมงที่ 2    116
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127