Page 129 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 129
ํ
ั
ั
ิ
ุ
่
คณคดวาเราควรตอบเด็กใหเหมาะกบอายุหรือระดบพัฒนาการอยางไร? (คาตอบทอาจจะไดจากพอ
ี
แม: เด็กท่โตกวานี้นาจะเขาใจเหตุผลทซับซอนกวาและอาจถามคําถามมากข้นอก เด็กเล็กอาจแค
ี
ึ
ี
่
ี
ตองการความมั่นใจวาทกอยางจะโอเคและเราสามารถหันเหความสนใจเขาไปสูกิจกรรมเชิงบวกอน ๆ
ื่
ุ
ไดงายกวา
จะมีเรื่องอื่น ๆ อีกไหม ที่เราจะลําบากใจที่จะพดคุยกบลูก? (คําถามนี้เปนการอภิปรายแบบเปดกวาง
ู
ั
็
วิทยากรอาจบันทึกรายการคําตอบที่ไดลงบนกระดาษฟลิปชารตกได)
ี
ั
คุณจะทําอะไรไดบาง หากคุณไมรูวาควรจะพดกบลูกอยางไร? (คําตอบทอาจจะไดจากพอแม: ให
่
ู
ื
ั
ความม่นใจแกลูก ใหกําลังใจ บอกลูกวาเอาไวคอยคุยกันอีกที ใชเวลาสักครูเพ่อคิดวาจะบอกลูกวา
อยางไรดี คุยเรื่องนี้กับแฟนหรือขอความชวยเหลือจากหนวยบริการอื่น ๆ)
โปรดจําไววา คุณควรใชคําถามเปดเพื่อใหพอแมชวยกันตอบ หนาที่ของคุณคือการถามคําถาม พอ
แมตองคิดหาคําตอบดวยตัวเอง!
อภิปราย – การพูดคุยกันเกี่ยวกับความรูสึก
วิทยากรนําการสนทนาวาทําไมการพูดถึงอารมณและความรูสึกของลูกจึงดีตอพัฒนาการของเขา
คําถามตอไปนี้อาจเปนประโยชน:
ทําไมเราจึงควรสื่อสารกับเด็กเรื่องความรูสึกที่ดีและไมดี?
ื
ี
่
ํ
ทาไมเราจึงควรสอนเด็กใหรูจักคาศพททใชเพอเรียกชื่อความรูสึกท่ดี และความรูสึกททาใหไมสบาย
ี
่
ํ
ั
ํ
ี
่
ใจ?
บันทึกความคิดเห็นของพอแมลงบนกระดาษฟลิปชารต
เหตผลของการพูดคุยเกี่ยวกับความรสึก:
ุ
ู
ชวยใหเด็กสื่อสารความรูสึกของเขาได
ชวยใหเด็กเชื่อมโยงความรูสึกกับการกระทําและภาษาทาทาง
เด็กไดเรียนรูวาการมีความรูสึกเปนเรื่องปกติ มันเปนเชนนั้นเอง!
เราสามารถมองเห็นและเรียนรูเกี่ยวกับความรูสึกของลูกเราได
เด็กจะสามารถรับรูความรูสึกของเราไดงายขึ้นดวย
ชวยใหเด็กสังเกตและเขาใจความรูสึกของคนอื่น ๆ ได
ชวยใหเด็กเลือกไดวาจะทําตัวอยางไร
หลักสูตรการอบรม
ื่
็
คูมือวิทยากร การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย | ชั่วโมงที่ 2 123