Page 130 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 130

อภิปราย – วิธีการตาง ๆ ที่เราจะพูดคยเกี่ยวกับความรูสกได                   
                                                               ุ
                                                                                      ึ
                                                                   ิ
                                                                                                     
                                    
               ใชรายการชื่อของอารมณที่เขียนไวบนกระดาษฟลิปชารตจากกจกรรมแยกแยะอารมณ เพื่อชวยใหพอแมเลือก
                                                                                                 
               คําพูดและประโยคที่จะใชพูดคุยกับลูกเกี่ยวกับความรูสึกได


               ขอใหพอแมฝกพูดประโยคตอไปนี้เพื่อบอกเกี่ยวกับความรูสึกบางอยาง:
                     ลูกดูภูมิใจมากที่ใสรองเทาไดเองนะ

                     การที่ตองรอใหถึงตาตัวเองนี่มันก็นาหงุดหงิดเนอะ

                     ลูกดูตื่นเตนที่เราจะไดไปเที่ยวสวนสาธารณะ/ตลาดดวยกัน
                     แมมีความสุขมากเวลาลูกทักทายแมดวยรอยยิ้ม

                     เลนกับลูกนี่สนุกมากเลย

                     การที่ตองเก็บของเลนนี่มันอาจทําใหลูกรูสึกเศรานะ

                     พอรูสึกดีเวลาที่เห็นลูกชวยนองนะ

                                                           ื่
                     มันเปนธรรมดาที่ลูกจะรูสึกเหงานะเพราะเพอนลูกกลับบานไปแลว
                     ลูกดูสับสนนิดหนอยกับการบานที่กําลังทําอยูนะ




                  โปรดสังเกต: การแสดงความเห็นเกี่ยวกับความรูสึกควรเฉพาะเจาะจงและสัมพันธกับพฤติกรรมหรือ
                              กิจกรรมของลูกดวย




               ฝกปฏิบัติ – การพูดคุยเกี่ยวกับความรูสึก

                                                             ั
                                       ้
                                 ิ
                                                                                   ั
                                                         ่
                                                         ี
                                                    ู
                                                      ุ
                                                                    
                                                                                ่
               ขอใหพอแมฝกปฏิบัตสองครัง สําหรับการพดคยเกยวกบความรูสึก ครั้งแรกเกยวกบอารมณดานบวก และอีก
                                                                                ี
                         
                     
                                                                                           
                                                                                  
               ครั้งสําหรับการสื่อสารอารมณดานลบ พอแมควรฝกการแสดงความเห็นตออารมณของตนเองและของลูกดวย
               หากมีบทพูดงาย ๆ ใหเปนตัวอยางใหพอแมฝกเรียกชื่อความรูสึกอาจจะชวยใหทําไดงายขึ้น ตัวอยางเชน
               “(ชื่อเด็ก) ลูกดูตื่นเตนที่จะไดเลนกับของเลนชิ้นใหมนี่” หรือ “แมมีความสุขที่ไดอยูกับลูกตอนนี้จัง”
                                                                           ั
               “(ชื่อเด็ก) พอเห็นเลยวาลูกหงุดหงิดที่ตอนนี้เปนตาของพี่ที่จะไดเลนโทรศพท เรามาเลนลูกบอลกันดีกวา”











    หลักสูตรการอบรม
                                           ื่
                                                                            ็
    คูมือวิทยากร           การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย    |   ชั่วโมงที่ 2    124
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135