Page 219 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 219
แตที่จริงแลวไมมีเด็กที่ไมดี มีแตพฤตกรรมที่เปนปญหาเทานั้น!
ิ
ั
็
้
ิ
ิ
ถาพอแมตอบสนองตอพฤตกรรมดานลบทเรียกรองความสนใจและกดดนเหลานี เดกกจะเรียนรูวาพฤตกรรม
ี
่
็
้
ั
เชนนีจะทําใหเขาไดรับความสนใจ – เหมือนกบเปนการไดรางวัลเชิงลบหรือการเสริมแรงเชิงลบสําหรับ
พฤติกรรมที่ไมดีนั่นเอง
่
ั
ื
พอแมมกจะยอมตามพฤติกรรมดานลบทเรียกรองความสนใจและกดดันเหลานีเพ่อทจะใหมนหยุด โดยเฉพาะ
้
ี
ี
ั
่
ในที่สาธารณะ
็
ื
ึ
ี
ื
ตวอยางเชนถาเดกรองงอแงเพ่อจะเอาขนมท่ราน ตอนแรกพอแมอาจบอกวา “ไม” แตเม่อเด็กรองดังข้น
ั
เรื่อยๆ หรือทําใหคนอื่น ๆ หันมาจองมอง พอแมก็จะยอมตาม ซึ่งในอีกแงหนึ่งก็เปนการเสริมแรงใหพอแมตอง
ทําอยางนี้ซ้ําอีกเพื่อจะไดหยุดพฤติกรรมเรียกรองความสนใจและกดดันนี้นั่นเอง
ผลที่เกิดขึ้นตามมากคอ เด็กเรียนรูวาหากจะใหไดดั่งใจ เขาจะตองเพิ่มแรงกดดันจนกระทั่งพอแมตองยอมตาม
ื
็
หรือ “แพ” นั่นเอง
วงจรแหงการควบคุมของพอแมและลูก (Parent-Child Coercive Cycle)0
1
เปนแบบแผนซํ้าซากที่เกิดขึ้นกับพอแมหลายคน:
ลูกเรียกรองเอาอะไรบางอยางจากพอแม
พอแมบอกวา “ไม”
เด็กโตเถียงหรือดื้อดึง
ี
พอแมพยายามใชกําลังขัดขืนมากขึ้นอก
เด็กดื้อดึงจะเอาใหไดจนกระทั่งไดตามใจที่ตองการ หรือ
ี
พอแมตอบโตในลักษณะท่รุนแรงหรือเปนการทํารายหรือทารุณกรรม หรือหนีออกไปจาก
สถานการณโดยสิ้นเชิง
1 The Parent-Child Coercive Cycle is derived from the work of G.R. Patterson et al and the Oregon Social Learning Centre
(www.oslc.org). Reid, J. B., Patterson, G. R., & Snyder, J. E. (2002). Antisocial behaviour in children and adolescents: A
developmental analysis and model for intervention. American Psychological Association.
หลักสูตรการอบรม
ื่
็
คูมือวิทยากร การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย | ชั่วโมงที่ 6 213