Page 234 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 234

อภิปราย – การเพิกเฉยตอพฤติกรรมเรียกรองและกดดัน

                                             ิ
                                                                    ี
                     ั
                  ุ
                                                              
                ู
                                                  
                                                        ิ
                                                                                            ั
               พดคยกบพอแมวาเพราะอะไรการเพกเฉยตอพฤตกรรมดานลบทเรียกรองความสนใจและกดดนจึงมประโยชน
                            
                                                                                                 ี
                        
                                                                    ่
               ลองใชคําถามตอไปนี้ในการอภิปราย:
                    เด็กจะเรียนรูอะไรถาคุณไมใหความสนใจกับพฤติกรรมที่เปนปญหาของเขา?
                    การเพิกเฉยตอพฤติกรรมดานลบที่เรียกรองความสนใจและกดดันจะมีประโยชนตอเด็กอยางไร?
               เหตุผลที่เราควรเพิกเฉยตอพฤติกรรมดานลบที่เรียกรองความสนใจและกดดัน:
                  1.  เด็กจะไดเรียนรูวาเขาจะไมไดรับความสนใจจากการทําพฤติกรรมไมดี
                  2.  มันชวยดึงความสนใจของคุณออกไปจากพฤติกรรมที่เปนปญหานั้น
                  3.  เวลาที่เราโกรธ เราจะแสดงตัวอยางของพฤติกรรมที่ไมดีและสถานการณจะแยลงอีก

                  4.  เด็กจะไดเรียนรูวาถาเขาประพฤติดี เขาจะไดรับความสนใจ



               อภิปราย: วิธีรักษาอารมณใหสงบในขณะที่กําลังเพิกเฉยตอพฤติกรรมที่เปนปญหา

                       ู
                                                                           ิ
               เปนการพดคุยกนถึงวิธีตาง ๆ ท่จะรักษาอารมณใหสงบในขณะทกําลังเพกเฉยตอพฤตกรรมดานลบท่เรียกรอง
                                   
                                         ี
                                                                                                  ี
                            ั
                                                                                     ิ
                                                                    ี
                                                                                
                                                                                           
                                                                    ่
               ความสนใจและกดดัน
               บันทึกรายการของวิธีการเหลานี้ลงบนกระดาษฟลิปชารต!

               วิธีรักษาอารมณใหสงบที่อาจใชได
                                      
                    สังเกตวาคุณกําลังรูสึกอยางไร ใหชืออารมณของคุณ เชน โกรธ กลัว เศรา หรือสับสน และความคิดที ่
                                                   ่
                      เชื่อมโยงกับมัน
                    สังเกตอารมณนี้ในรางกายของคุณ
                    สังเกตผลของความคิดเหลานี้ตอพฤติกรรมของคุณ แมวาการรูสึกถึงอารมณเหลานี้จะเปนเรื่องปกติ
                      คุณไมจําเปนตองมีปฏิกิริยาตอมันในทางลบและแสดงออกกับลูกของคณ
                                                                               ุ
                    หายใจลึก ๆ

                    บางทีอาจ หยุดพักสักครู (ใชเวลาสั้น ๆ)

                    บอกตัวคุณเองวา “ไมเปนไร ฉันจัดการได”

                    เดินไปอีกที่หนึ่ง และเดินตอไปอีกถาลูกเดินตามคณมา
                                                              ุ
                    เริ่มเตรียมอาหารหรือรองเพลง
                    ใหรางวัลตัวเองดวยอะไรดี ๆ สักอยางเพราะคุณทําไดดี!










   หลักสูตรการอบรม
                                         ื่
                                                                          ็
   คูมือวิทยากร           การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย    |   ชั่วโมงที่ 6    228
   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239