Page 294 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 294

ขั้นตอนที่ 7. ชวยใหเด็กคิดตรึกตรองทบทวนวาการแกปญหานั้นไดผลจริงไหม

               ในตอนทายใหพดคุยกบผูปกครองสั้น ๆ วาเพราะอะไรจึงควรใหเด็กมีสวนรวมในการแกไขความขดแยง
                                  ั
                             ู
                                                                                           
                                                                                                    ั
                                      ี
               แทนที่จะใหผลติดตามทันท ถามคําถามตอไปนี้:
                     เพราะอะไรจึงควรลองทําอะไรบางอยางคลายกันนี้กบเดก โดยการใหเด็กมีสวนรวมในการแกไข
                                                                       ็
                                                                   ั
                       ความขัดแยง แทนที่จะใหผลติดตามทันท?
                                                        ี
                                
                                                             
                                                                                                ี
               (คําตอบท่อาจจะได: ชวยใหเด็กอยูภายใตแสงแดดแหงความเอาใจใสในทางบวก เด็กเรียนรูท่จะหาทาง
                                                   
                        ี
                                                                           
                                     ่
               แกปญหาในสถานการณททาทาย เดกเรียนรูทจะแกปญหาโดยปราศจากความรุนแรง เด็กเรียนรูการจัดการ
                                   
                                                      ่
                                                      ี
                                              ็
                                                    
                                     ี
                                                                                               
                                      
                                                           
               ตนเองและทกษะสังคมเชิงบวก มันจะชวยใหเด็กมองเห็นผลทจะติดตามมาจากการกระทาของเขาทงดานลบ
                          ั
                                                                  ี่
                                                                                        ํ
                                                                                                 ั้
               และดานบวก
                                                                                             ้
                                                                                             ึ
               โปรดจําไวเสมอวา วิทยากรควรใชคําถามปลายเปดเพอกระตุนใหผปกครองมีสวนรวมมากขน หนาทของ
                                                                        ู
                                                                                                     ี
                                            
                                                          
                                                                                                     ่
                                                                                  
                                                             ื
                                                             ่
                                                                   
                                                                        
               คุณคือการถามคําถาม พอแมตองคิดหาคําตอบใหไดดวยตัวเอง!

               ฝกปฏิบัติในกลุม – การชวยใหเด็กมีสวนรวมในการแกไขขอขัดแยง
                                                                                   ั
                               ิ
                                                   ั
               พอแมจะฝกปฏิบัตในกลุม 3 คน วาจะใชข้นตอนสําคญในการแกไขขอขดแยงกบเดก ๆ ไดอยางไร ใหฝก
                                                                      
                                                                            ั
                                                            ั
                                                                                      ็
                                                                          
               ปฏิบัติในกลุมใหญกอน แลวหลังจากนั้นใหฝกในกลุม 3 คน ในขณะที่วิทยากรคอยใหความชวยเหลือ
                1.  ขอใหอาสาสมัครออกมาสามคน
                2.  มอบหมายบทบาทให คือ ผูปกครอง และเด็กสองคน
                                       ุ
                3.  อธิบายสถานการณสมมต:
                                         ิ
                                    
                   a.  เด็กสองคนเลนของเลนอยูเงียบ ๆ ตอมาเริ่มทะเลาะเพราะแยงของเลนกัน
                   b.  ผูปกครองสังเกตเห็นการทะเลาะกน แลวนั่งลงใหอยูในระดับเดียวกนกับเด็ก “(เรียกชื่อเด็ก) แมเห็น
                                                                              ั
                                                   ั
                                                                         
                             ั
                                                                       ้
                       นะวาท้งสองคนกาลังหงดหงด ลองหายใจลึก ๆ หนึ่งครังกอน แลวมาดูกันวาเราจะแกปญหานี้
                                      ํ
                                           ุ
                                                                                                 
                                               ิ
                       ดวยกันไดไหมนะ”
                   c.  ผูปกครองถามวาปญหาคืออะไร เด็ก ๆ บอกวา ของเลนมันมีไมพอ
                   d.  ผูปกครองขอใหเด็กคิดหาทางแกปญหา เด็ก ๆ เสนอมาสองสามอยาง
                   e.  ผูปกครองขอใหเด็กเลือกเอาหนึ่งอยาง เด็กเลือก
                   f.  ทุกคนจะไดเห็นวาวิธีแกปญหานี้ไดผลไหม โดยการทดลองทําดู
                   g.  ผูปกครองถามเด็ก ๆ วาเขาพอใจกับการแกปญหานี้ไหม เด็ก ๆ ตอบวาพอใจ
                   h.  ผูปกครองชมเด็ก ๆ ที่ทํางานดวยกันเพื่อหาทางแกปญหาใหได
                                                  
                4.  พูดคุยแลกเปลี่ยนกันวาประสบการณและความรูสึกจากการเปน “ผูปกครอง” และ “เด็ก” เปนอยางไร
                                                                           
                    บาง
                5.  ชมอาสาสมัคร
                6.  ขอใหผูปกครองฝกกนในกลุมละสามคน
                          
                                          
                                    ั
                7.  ใหกําลังใจและการกระตุนอยางเต็มที่ในขณะที่ผูปกครองฝกปฏิบัติกัน
                8.  อภิปรายกันในกลุมใหญ วาประสบการณนี้เปนอยางไรบาง

                 พักรับประทานอาหารวางและกิจกรรมกระตุนพลัง ขอใหพอแมเลือกกิจกรรมหนึ่งอยาง!

   หลักสูตรการอบรม
                           การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย    |   ชั่วโมงที่ 8   288
                                          ื่
                                                                           ็
   คูมือวิทยากร
   289   290   291   292   293   294   295   296   297   298   299