Page 50 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 50
ี
ี
่
่
ื
่
ี
ื
้
วิทยากรควรเตอนใจพอแมวาท่นีเปนท่ปลอดภัย เราไมไดมาท่นีเพอวิจารณหรือตําหนิวิธีการเลียงดูเดก (ที ่
็
ู
ี
อาจจะทําไดไมดี) ของเขา แตเรามาเรียนรูดวยกันเปนกลุม เก่ยวกับสิ่งท่เขาอาจปรับปรุงไดในการเลี้ยงดลูก
ี
ของเขาเอง
ิ
ุ
รูปแบบการนํากลมขณะฝกปฏิบัต
แนะนําการฝกปฏิบัติ
่
้
่
1. บอกพอแมวาขณะนีเขามีโอกาสทีจะไดฝกทักษะทีสําคัญจากเรื่องประกอบภาพ (เชน การเลนโดยให
เด็กเปนฝายนํา หรือ การแนะนําวิธีสงบอารมณ)
2. สรางสถานการณสมมุติ (เชน เหตุการณนี้เกิดข้นท่ไหน ใครอยูท่นั่นบาง เด็กอายุเทาไหร กําลังเกิด
ึ
ี
ี
ึ
้
้
อะไรขนในขณะนัน)
3. มอบหมายบทบาท ใหคนหนึงเปน “ผูปกครอง” และอีกคนเปน “เด็ก” พยายามบอกใหชัดเจนวาเด็ก
่
ในเรื่องอายุเทาไหร มีพัฒนาการอยูในระดับไหน
ี
ี
4. ตอนแรกวิทยากรอาจตองเลือกผูเขารวมอบรมทคิดวานาจะใหความรวมมือดกอน เพราะสวนใหญ
่
อาจยังอายหรือลังเลใจอยู
ี
5. บรรยายรายละเอียดวา “ผูปกครอง” และ “เด็ก” ควรทําอะไรในขณะท่ฝกปฏิบัติ ใหพอแมมีสวน
รวมในการกําหนดวาอยากพูดอะไร บอกผูปกครองวาคุณจะคอยชวยอยูขาง ๆ ในขณะฝก
6. โปรดจําไววาเปาหมายหลักอยูท่พฤติกรรมการเลียงดเด็ก! ในตอนแรกของการฝกเรามักตองการให
ี
ู
้
เด็กประพฤติตัวใหเหมาะสมเสมอ
ี
่
่
ี
ั
7. จัดฉากใหทุกคนในทอบรมมองเห็นเหตการณไดชัดเจน ในขณะทวิทยากรอธิบายข้นตอนตาง ๆ นี้
ุ
พยายามยืนในจุดที่ทุกคนมองเห็นและไดยินคุณชัดเจน
ในขณะที่กําลังฝกอยู
1. ใหทําตัวเปน “เงา” หรือ “เทวดาประจําตัว” สําหรับ “ผูปกครอง” ใหยืนใกลๆ “ผูปกครอง” และให
คําแนะนําหรือกําลังใจหากจําเปน
2. หากมีความผิดพลาดเกิดขึ้น คุณสามารถหยุดการฝกแลวตั้งตนใหมได
3. ใหการฝกบทบาทสมมุติใชเวลาประมาณสองนาที ไมควรปลอยใหทํานานเกินไป
หลักสูตรการอบรม
ื่
็
คูมือวิทยากร การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย | บทนํา 44