Page 104 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 104

14. สอบถามผูปกครองท่ไดฝกปฏิบัต วารูสึกอยางไรกับประสบการณของการเลนบทบาทสมมุติเปนทง
                                        ี
                                                  ิ
                                                                                                        ั
                                                                                                        ้
                       เด็กและผูปกครองบาง หากพบวามีสิ่งไหนที่จะถือเอาเปนกอนอิฐบล็อกไดใหบันทกไว
                                                                                         ึ
                                                                       
                                                                       ี่
                   15. ใหชมเชยผูปกครอง/เด็กอยางเต็มที่ในฐานะที่เปนคนแรกทไดฝกปฏิบัติ!

               การฝกปฏิบัตเปนค
                                       ู
                                ิ
                   1.  ใหผูปกครองจับคูแลวขอใหฝกการปลอยใหเด็กเปนฝายนําในขณะทใชเวลารวมกันตามลําพง
                                                                              ี่
                                                                                                  ั
                   2.  แตละคนควรไดฝกทั้งบทบาทของพอแมและบทบาทของเด็ก เตือนเด็ก ๆ วาใหทําตัวเปนเด็กดีดวย!
                                                   
                   3.  วิทยากรทั้งสองคนควรเดินไปรอบ ๆ หองเพื่อใหความชวยเหลือพอแมดวยถาจําเปน

                   4.  บอกใหพอแมสลับบทบาทกันหลังจากเวลาผานไปประมาณหนึ่งนาที

                   5.  บอกใหทุกคนกลับมารวมกลุมกันอีกครั้งเพื่ออภิปราย

                   6.  ขอฟงความเห็นจากแตละคูในชวงเวลาของการอภิปรายในกลุม วาการฝกปฏิบัติเปนอยางไรบาง



                                      ุ
               การอภิปรายในกลม – กิจกรรมที่ควรทํากับเด็ก ๆ
               เวลาที่พอแมถามลูกวาอยากทําอะไรในขณะที่ใชเวลารวมกันตามลําพัง บอยครั้งเด็กมักจะไมรูวาจะทําอะไร
               อาจเปนไปไดวาเด็กไมเคยถูกถามเชนนี้มากอน!
                                                   
                                                   ี่
                                                                           ี่
               พอแมอาจชวยเด็กไดโดยการเสนอแนะสิ่งทอาจเลนดวยกันหรืองานบานทอาจทําดวยกันได
                                                                                               ื่
                                                                 ํ
               อาจเปนเรื่องทาทายสําหรับพอแมที่จะเลือกตัดสินใจวาควรทาอะไรกับลูกดี โดยเฉพาะอยางยิ่งเมอมีเวลาเพียง
                                       
               เล็กนอย และเด็กมีพฤติกรรมที่เปนปญหาอยูดวย
                                                                              ่
               ถือเปนหนาท่ของวิทยากรท่จะชวยพอแมหรือผูปกครองคดหากิจกรรมทอาจทํากับเด็ก ๆ ได ในระหวาง
                                                                              ี
                                                   
                                       ี
                                                        
                                               
                                                                 ิ
                           ี
               สัปดาหหลังจากการอบรมชั่วโมงนี้ไปแลว
                                            
               ตัวอยางกิจกรรมที่อาจทําได:
                         เลนกับลูกบอลหรือตุกตา ถาเด็กมีอยูแลว
                         แตงตัวดวยเสื้อผาแบบสนุก ๆ หรือใชเสื้อผาของผูใหญ
                         เลนซอนหา – ขางนอกบาน
                         เลนซื้อของในบาน

                         เลนตัวตอจิ๊กซอว
                         รองเพลงดวยกัน
                         เลานิทาน

                         กระตุนใหเด็กเลานิทานที่คิดขึ้นเอง



                                                                                                 
                                                                                                     ั
                                                                                   ิ
                                                                                ั
                                   ี
                                       
                                   ่
                  หมายเหตุ! ในเดกทอายุตางกน หรือมาจากกลุมชาติพนธุหรือศาสนาตางกน กจกรรมก็จะแตกตางกนไป
                                ็
                                           ั
                                                               ั
                             
                                                                                      ั
                            ดวย ควรพยายามทาใหแนใจวาขอเสนอแนะทจะใหไปนั้น เหมาะสมกบบริบททางสังคมของ
                                                                  ี
                                            ํ
                                                                  ่
                                                        
                            พอแมในกลุมดวย!

   หลักสูตรการอบรม
                            การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย    |   ชั่วโมงที่ 1    98
   คูมือวิทยากร                           ื่                               ็
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109