Page 105 - PLH_Thailand_Facilitator_full_2020JUN21 THAI
P. 105

ทบทวน - คําแนะนําเพิ่มเตมที่อาจเปนประโยชนในการใชเวลาตามลําพัง
                                                ิ
               กับเด็ก


               นําการพูดคุยเกี่ยวกับคําแนะนําเพิ่มเติม เรื่องการใชเวลาตามลําพังกับลูกของคุณ


                                         ั
                1. จัดเวลาไวเฉพาะสําหรบการใชเวลาตามลําพังกับลูกในแตละวัน
                                                                                    ื
                          ี
                เลือกเวลาท่คุณไมนาจะถูกรบกวนหรือขัดจังหวะและลูกของคุณไมมีอะไรอยางอ่นทํา เชน ไมไดดูโทรทัศน
                                                              
                                                                      ี
                หรือเลนโทรศัพทมือถือ ปดโทรทัศนและเอาโทรศัพทไปเก็บเสยกอน แลวจึงบอกลูกวาคุณอยากดูลูกเลน
                และใหลูกเลือกไดวาอยากทําอะไร
                2. พยายามทําใหมั่นใจวาลูกรูวาคุณกําลังเฝาดูเขาอยู

                คุณจะตองนั่งใกลกับลูกและใหความสนใจเขาอยางเต็มที่ หันตัวไปหาเขาหรือนั่งอยูขางๆ เขา


                                        
                                                       ั
                      
                           
                3. ปลอยใหสถานการณดําเนินไปตามจงหวะเวลาของลูก
                เด็กจําเปนตองทําสิ่งตาง ๆ ตามจังหวะเวลาของเขาเอง พยายามอดทนและใหเวลาเขาเลือกตัดสินใจ
                                                                                        ี่
                4. ในขณะที่เฝาดูลูกอยู ใหพยายามออกคําสั่งหรือใหคําแนะนําใหนอยทสุดเทาที่จะทําได
                                                                                ิ
                                                                    
                          
                                                                                      
                                                                 ี
                                                                        ํ
                                                           ํ
                                  
                แนนอนวาพอแมจะตองทําอะไรบางอยางหากเดกทาอะไรท่ไมควรทา เชน เพกเฉยตอกฎระเบียบของบานท   ี ่
                                                        ็
                                          ํ
                                                ี
                                                                                   ่
                                                                              
                                                                                   ั
                                                                       ี
                                                                                                 ุ
                                                                                                ี
                ไดตกลงกนไวแลว หรืออยากทาอะไรท่เปนอันตราย (เชน เลนไมขดไฟ) แตโดยทวไปแลว เวลาทคณใชเวลา
                                                                                                     
                  
                        ั
                                                                                                ่
                ตามลําพังกับลูก เขาควรเปนฝายนํากิจกรรม
                5. พยายามอยาถามคําถาม
                                                                                                        ํ
                แทนที่จะถามวา “ทําไมไมสรางรถละ?” หรือ “ลูกจะทําใหมันเปนอะไรนะ?” ควรพูดเกี่ยวกับสิ่งที่ลูกกําลังทา
                อยูมากกวา การตั้งคําถามแบบขางตนเปนการหันเหความสนใจไปจากสิ่งที่เขาทําอยูและทําลายสมาธิของเด็ก
                            ู
                6. ฟงสิ่งที่ลกกําลังพูด และเฝาสังเกตวาเขากําลังทําอะไร
                                                                                                  ่
                                                                                                    ็
                                                                                                      ํ
                                                                                                  ี
                                                                       ุ
                                                                                             ึ
                                                                                                ่
                              ้
                                              ั
                                    
                                       ็
                ในชวงเวลาเชนนี การฟงเดกจะสําคญกวาการพดคยกับเขา หากคณพูดควรเปนการบรรยายถงสิงทเดกกาลัง
                                                          ุ
                                                        ู
                  ํ
                                                                                            ็
                                                                                                     
                ทามากกวา ถาเด็กถามคาถาม คณสามารถตอบได แตอยาปลอยใหกลายเปนการบอกใหเดกทาอะไรตาง ๆ
                                                                                               ํ
                            
                                           ุ
                                     ํ
                                                             
                                                          
                ควรใหเด็กเปนฝายเลือกเอง เชน “แมอยากรูวาลูกจะตัดสินใจทําอะไร?”
                7. ใชคําพูดเพื่อบรรยายวาเด็กกําลังทําอะไรอยู
                                                                         ื
                          ื
                ใชคําพูดเพ่อบรรยายพฤติกรรม สี รูปราง จํานวน ขนาด ลักษณะพ้นผิว อุณหภูมิ รสชาติ เสียง และอะไร
                อยางอื่น ๆ ที่กําลังเกิดขึ้น!



   หลักสูตรการอบรม
                            การเลี้ยงดูเด็กเพอใหมีสุขภาพดีตลอดชีวิต สําหรับเด็กเลก – ฉบับภาษาไทย    |   ชั่วโมงที่ 1    99
   คูมือวิทยากร                           ื่                               ็
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110